อัพโหลด 3D
  •   เข้าสู่ระบบ
  • หน้าหลัก
  • เกี่ยวกับเรา
  • การอัพโหลด 3D
Loading
Loading...
พระพุทธรูปปางสมาธิ  
ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย

ลักษณะ : จากวัดพระพายหลาง นอกเมืองโบราณสุโขทัยทางด้านทิศเหนือ ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย

ยุคสมัย : พุทธศตวรรษที่ 18

แบบศิลปะ (Art style) : ศิลปะลพบุรี

หน้าที่/การใช้งาน : เครื่องสักการะในพุทธศาสนา

วัสดุ : หินทราย

เทคนิค : เทคนิคการแกะสลักหิน

ลิขสิทธิ์ : อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย


ข้อมูลไฟล์ 2D และ 3D

ชื่อและนามสกุลไฟล์ Texture : 264-bscolor01.jpg

ขนาดไฟล์ Texture : 418.19 KB

เทคนิค 3D : Photo scanner

อุปกรณ์ 3D : Autodesk Recap

ชื่อและนามสกุลไฟล์ 3D : 264-bscolor.obj

ขนาดไฟล์ 3D : 4.17 MB

จัดทำโดย : MADs-1

สังกัด : Media Art and Design

ระยะเวลาจัดทำ : 14 ก.ค. 2561 - 21 ก.ค. 2561


อัพโหลด 3D โดย สุชาดา อินต๊ะขัติย์

วัตถุโบราณ 8 ชิ้นในตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย | ดูสถานที่อื่น

  • ช้างประดับฐานเจดีย์ประธาน

    ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย

    พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติรามคำแหง

  • ศิลาจารึกหลักที่ 1 จำลอง

    ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย

    จารึกพ่อขุนรามคำแหง หรือ จารึกหลักที่ 1 เป็นศิลาจารึกที่บันทึกประวัติศาสตร์สมัยกรุงสุโขทัย ศิลาจารึกนี้ เจ้าฟ้ามงกุฎฯ ต่อมาคือ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะผนวชอยู่เป็นผู้ทรงค้นพบเมื่อวันกาบสี ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 3 จ.ศ. 1214 ตรงกับ วันศุกร์ที่ 17 มกราคม ค.ศ.1834 หรือ พ.ศ. 2376 ณ เนินปราสาทเมืองเก่าสุโขทัย อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย มีลักษณะเป็นหลักสี่เหลี่ยมด้านเท่า ทรงกระโจม สูง 111 ซม. หนา 35 ซม. เป็นหินทรายแป้งเนื้อละเอียดมีจารึกทั้งสี่ด้าน ปัจจุบันเก็บอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร เนื้อหาของจารึกแบ่งได้เป็นสามตอน ตอนที่หนึ่ง บรรทัดที่ 1 ถึง 18 เป็นการเล่าพระราชประวัติพ่อขุนรามคำแหงตั้งแต่ประสูติจนเสวยราชย์ ใช้คำว่า "กู" เป็นหลัก ตอนที่ 2 ไม่ใช้คำว่า "กู" แต่ใช้ว่า "พ่อขุนรามคำแหง" เล่าถึงเหตุการณ์และธรรมเนียมในกรุงสุโขทัย และตอนที่สาม ตั้งแต่ด้านที่ 4 บรรทัดที่ 12 ถึงบรรทัดสุดท้าย มีตัวหนังสือต่างจากตอนที่ 1 และ 2 จึงน่าจะจารึกขึ้นภายหลัง เป็นการสรรเสริญและยอพระเกียรติพ่อขุนรามคำแหง และกล่าวถึงอาณาเขตราชอาณาจักรสุโขทัย จารึกได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความทรงจำแห่งโลกเมื่อปี พ.ศ. 2546 โดยยูเนสโกบรรยายว่า จารึกนี้ นับเป็นมรดกเอกสารชิ้นหลักซึ่งมีความสำคัญระดับโลก เพราะให้ข้อมูลอันทรงค่าว่าด้วยแก่นหลักหลายประการเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมโลก ไม่เพียงแต่บันทึกการประดิษฐ์อักษรไทยซึ่งเป็นรากฐานแห่งอักษรที่ผู้คนหกสิบล้านคนใช้อยู่ในประเทศไทยปัจจุบัน การพรรณนาสุโขทัยรัฐไทยสมัยศตวรรษที่ 13 ไว้โดยละเอียดและหาได้ยากนั้นยังสะท้อนถึงคุณค่าสากลที่รัฐทั้งหลายในโลกทุกวันนี้ร่วมยึดถือ

  • ฐานรูปเคารพ

    ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย

    พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติรามคำแหง

  • วิหารจำลอง

    ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย

    พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติรามคำแหง

  • ใบเสมา

    ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย

    เครื่องหมายบอกเขตอุโบสถสำหรับทำสังฆกรรม จากวัดแห่งหนึ่งในเมืองโบราณสุโขทัย

  • ใบเสมาคู่

    ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย

    นอกจากจะเป็นเครื่องหมายบอกเขตอุโบสถสำหรับทำสังฆกรรมแล้ว ยังมีความหมายของการเป็นวัดหลวงด้วย ที่จะบ่งบอกถึงว่าวัดเหล่านี้ไปรับการอุปภัมถ์โดยพระมหากษัตริย์อีกด้วย และนอกจากนั้นยังแสดงให้เห็นถึงการบ่งบอกที่ว่า วัดเเห่งนี้เคยมีภิกษุและภิกษุณีอาศัยอยู่ในบริเวณวัดด้วย

  • พระพุทธรูปปางสมาธิ

    ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย

    จากวัดพระพายหลาง นอกเมืองโบราณสุโขทัยทางด้านทิศเหนือ ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย

  • กลีบขนุนรูปพระไภสัยชยคุรุ (พระพุทธเจ้าแพทย์)

    ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย

    ประติมากรรมชิ้นนี้เป็นการคัดลอกนำกลีบขนุนที่ประดับปรางค์ ซึ่งอาจเป็นศาสนสถานที่สร้างเนื่องในศาสนาฮินดูมาก่อนแล้วปรับแปลงเป็นพุทธสถานในภายหลัง เช่นวัดศรีสวาย ชิ้นนี้ได้นำเข้ามาในส่วนของพระพุทธณูป ที่สามารถอธิบายความเปลี่ยนแปลงในเรื่องของการนับถือจากฮินดูเป็นพุทธศาสนา

สถานที่อื่น ที่น่าสนใจ

  • ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย
  • พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ลำพูน
  • พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติจังหวัดร้อยเอ็ด
  • พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติจังหวัดเชียงใหม่
  • พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเวียงเกาะกลาง
  • พิพิธภัณฑ์ศาลปกครอง
  • พิพิธภัณฑ์เพอรานากันจังหวัดภูเก็ต
  • พิพิธภัณฑ์เมืองสกลนคร
  • มช.
  • มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • มิวเซียมสยาม
  • วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ
  • ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาลำปาง
  • ศูนย์สถาปัตยกรรมล้านนา
  • หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • หอศิลปะวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย
  • เมืองโบราณศรีเทพ อำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์
  • โฟวิลอาร์ต