
Loading...
หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประวัติ : พระพุทธรูปประทับนั่งสมัยมัณฑเล มีลักษณะสำคัญคือพระพักตร์มีกระบังหน้า ห่มเฉียงเสมอตามแบบพระนั่งพุกามซึ่งแตกต่างไปจากพระยืนที่นิยมห่มคลุม จีวรเป็นริ้วธรรมชาติทั้งหมดตามอิทธิพลจีน บางครั้งการประดับลวดลายและกระจกลงไปบนจีวรด้วย ที่พระอังสาซ้ายปรากฏชายจีวรตกลงมายาวจนถึงพระนาภี ที่ปลายจีวรมีการเล่นลวดลายอย่างมาก เช่นการสลักผ้าให้ทบไปมาจนดูผิดธรรมชาติ พระหัตถ์แสดงปางมารวิชัยตามแบบพระนั่งในศิลปะพุกาม
ยุคสมัย : พุทธศตวรรษที่ 19
แบบศิลปะ (Art style) : ศิลปะแบบพม่าพุกาม
หน้าที่/การใช้งาน : เครื่องประดับงานสถาปัตยกรรม
วัสดุ : หินอ่อน
เทคนิค : ประติมากรรมสลักหิน
ลิขสิทธิ์ : กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬามอบให้โรงเรียนสอนคนตาบอด
ข้อมูลไฟล์ 2D และ 3D
ชื่อและนามสกุลไฟล์ Texture : 277-PP01.jpg
ขนาดไฟล์ Texture : 532.39 KB
เทคนิค 3D : Photo scanner
อุปกรณ์ 3D : Autodesk Recap
ชื่อและนามสกุลไฟล์ 3D : 277-PP.obj
ขนาดไฟล์ 3D : 499.55 KB
จัดทำโดย : PPM
สังกัด : หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ระยะเวลาจัดทำ : 11 ก.ค. 2561 - 20 ก.ค. 2561