
Loading...
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ลำพูน
ลักษณะ : พระพุทธรูป วัสดุหินชนวนดำขัดมัน รูปแบบศิลปะพุทธศตวรรษที่ 13 คิ้วยังไม่ต่อเป็นปีกกา เม็ดพระศกมนๆ พบหินแบบนี้มากที่ลพบุรี อิทธิพลศิลปะทวารวดี มีแผ่นประภามณฑลเหมือนศิลปะอินเดียยุคคุปตะ
ประวัติ : สันนิษฐานว่าเป็นพระสิกขีปฏิมาศิลาดำของพระนางจามเทวี สอดคล้องกับตำนานพระนางจามเทวีนำของสำคัญมาสองสิ่ง (พระแก้วขาว ปัจจุบันอยู่ที่วัดเชียงมั่น จังหวัดเชียงใหม่ กับพระศิลาดำหรือพระสิกขีปฏิมาศิลาดำ)
ยุคสมัย : พุทธศตวรรษที่ 13
สกุลช่าง : ทวารวดี
แบบศิลปะ (Art style) : ศิลปะทวารวดี
หน้าที่/การใช้งาน : เครื่องสักการะในพุทธศาสนา
กษัตริย์ : พระนางจามเทวี
วัสดุ : หินชนวนดำขัดมัน
ขนาด: กว้าง 35 ซม | ยาว 20 ซม | สูง 40 ซม
เทคนิค : เทคนิคการแกะสลักหิน
ลิขสิทธิ์ : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ลำพูน
ข้อมูลไฟล์ 2D และ 3D
ชื่อและนามสกุลไฟล์ Texture : 295-h201.jpg
ขนาดไฟล์ Texture : 160.03 KB
เทคนิค 3D : Photo scanner
อุปกรณ์ 3D : Autodesk Recap
ชื่อและนามสกุลไฟล์ 3D : 295-n4.obj
ขนาดไฟล์ 3D : 694.55 KB
จัดทำโดย : ทัตพล กาวิล
สังกัด : Media Art and Design
ระยะเวลาจัดทำ : 24 ก.ค. 2561 - 24 ก.ค. 2561